วันจันทร์ที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555
วันอาทิตย์ที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2555
วันอาทิตย์ที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2555
วันเสาร์ที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2555
อบรมฟรี ทำยาดมสมุนไพรรุ่นที่23 วันที่ 22ธันวาคม 2555 เวลา 13.00-16.30 น
อบรมทำยาดมสมุนไพรรุ่นที่ 23 -
วันเสาร์ที่ 22 ธันวาคม 2555 เวลา 13.00 น- 16.00 น. (ลงทะเบียน 12.30 น.) กรุณาลงทะเบียนก่อน(ลงทะเบียนได้ที่นี่ลงชื่อ-นามสกุล-เบอร์โทรศัพท์ติดต่อกลับ) หรือติดต่อ 086-000-8898 ( สำหรับท่านที่ได้ลงทะเบียนแล้วทางชมรมฯมิได้ติดต่อกลับเพราะว่าได้รับทราบแล้วท่านสามารถมาตามวันเวลาที่กำหนดได้เลย )ช่วยลงเบอร์โทร์ศัพท์ทุกครั้งเพื่อที่ชมรมฯจะติดต่อกลับในกรณีที่มีการเลื่อนตารางฝึกอบรมขอบคุณ
สนใจสมัครด่วนที่ link ด้านล่างค่ะ
วันจันทร์ที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2555
วันพฤหัสบดีที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2555
มารู้จัก หมอพื้นบ้านกัน
มารู้จัก หมอพื้นบ้านกัน
1.หมอยาฮากไม้
เป็นหมอที่ใช้วิธีการรักษาด้วยส มุนไพร แร่ธาตุบางชนิด และเขี้ยวสัตว์ หรือส่วนต่างๆ ของสัตว์บางชนิด โรคส่วนใหญ่ที่รักษาได้แก่ โรคเลือด วิน (อาการปวดศีรษะ) และอาการผิดปกติของหญิงแม่ลูกอ่ อนหลังอยู่ไฟ
2.หมอเป่า
มีวิธีการรักษาด้วยการเป่าต่างๆ กันไป ส่วนประกอบที่ใช้และพบบ่อย คือ ปูนกินหมาก เคี้ยวกระทียมแล้วเป่า เคี้ยวหมากเป่า เคี้ยวใบไม้บางชนิดเป่า เป็นต้น โรคที่รักษา ได้แก่ ถ้าเลิดเด็กน้อย ปวดศีรษะ โรคผิวหนังบางชนิด (งูสวัด) เป็นต้น การที่หมอเป่าจะรักษาหายหรือไม่ หายนั้น หมอเป่าเชื่อว่าเป็นเรื่องของกา รทำบุญร่วมกันมาในชาติก่อนของหม อกับผู้ป่วย
3. หมอน้ำมนต์
เป็นการรักษาโดยการทำน้ำมนตร์แล ะพรมไปตามส่วนที่บาดเจ็บ เช่น กระดูกเคลื่อน หัก อันเนื่องมาจากอุบัติเหตุต่างๆ เช่น รถชน ตกต้นไม้ เป็นต้น
4. หมอเอ็น
เป็นการรักษาโดยใช้หัวแม่มือ และนิ้วชี้ สำหรับจับเอ็นที่เคล็ดขัดยอกหรื อกระดูกเคลื่อน
5. หมอพระ
เป็นพระที่หน้าที่รักษาโรค ได้แก่ อาการปวดหัว ปวดท้อง อารมณ์เสียบ่อย ๆ เป็นลมง่าย มีอาการชาตามตัว รักษาโดยการประพรมน้ำมนตร์ หรืออาบน้ำมนตร์ผูกแขนให้ และให้ระลึกถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ และให้สวดมนต์ก่อนนอน ผู้ป่วยที่มามักเป็นผู้ป่วยที่ไ ปโรงพยาบาลแล้วหมอตรวจโรคไม่พบ ซึ่งหมอพระเชื่อว่า อาการต่าง ๆ เหล่านี้ มีสาเหตุมาจากผี หรือ ผีเฮ็ด (ผีทำ) ปัจจุบันหมอพระมีจำนวนลดลงเรื่อ ยๆ
6. หมอลำผีทรง (หมอลำผีฟ้า)
ส่วนใหญ่เป็นผู้หญิงรักษาผู้ป่ว ยโดยการรำและมีแคนประกอบ ส่วนประกอบสำคัญในพิธีกรรม คือ พาคาย หรือถาดใส่แป้งกระแป้ง กระจกส่องหน้าเล็กๆ หรือน้ำมันใส่ผม หมอแคนเป่าเพลง วิธีการทำโดยหมอลำส่องกระจก และเจรจาโต้ถามกับผี จนในที่สุดผู้ป่วยลุกขึ้นฟ้อน แสดงว่าผีที่เป็นสาเหตุของความเ จ็บป่วยพอใจ และผู้ป่วยจะหายในที่สุด หมอลำชนิดนี้รักษาผู้ป่วยได้เพร าะมีผีเข้ามาเทียบ จะเรียกชื่อตามผีนั้นๆ เช่น หมอลำผีทรง หมอลำผีฟ้า (ที่มาของผีทรง ละผีฟ้าแตกต่างกัน หมอลำผีฟ้ามาจากที่สูงกว่า จากชั้น 9 แต่ผีทรงมาจากชั้น 5) ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะเลือกหมดลำผีท รง (ผีฟ้า) เป็นการรักษาหลังสุด หลังจากที่หมอรักษาด้วยวิธีอื่น ๆ แล้ว
7.หมอธรรม
ส่วนใหญ่จะเรียนวิชามาจากวัด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในขณะที่บวชเร ียน บางครั้งหมอธรรมถูเรียกว่า หมอผี เนื่องจากหมอธรรมรักษาผู้ป่วยอั นมาจากผี เช่น ผีปอบ หมอธรรมรักษาผู้ป่วยด้วยวิธีนั่ งธรรม เพื่อหาสาเหตุว่า "ใคร" เป็นสาตุของความเจ็บป่วย เช่น ผีต่างๆ หรือ การละเมิดกฏเกณฑ์ของครอบครัวหรื อชุมชน และจะดำเนินการรักษาไปตามสาเหตุ นั้น ถ้าเป็นผีปอบ หมอธรรมมักจะใช้ไม้เท้าอันเล็กๆ หรือกาบกล้วยว่าคาถาแล้วตีไปที่ ผู้ป่วยเพื่อไล่ให้ผีออก หรือใช้วิธีสวดธรรมในกรณีที่ผู้ ป่วยถูกผี (ผีป่าผีเชื้อ) มากลั่นแกล้ง จบลงด้วยการสู่ขวัญ และอาบน้ำมนตร์ให้ผู้ป่วย ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ป่วยที่ไ ด้รับการรักษาหายแล้ว กับหมอธรรมจะเป็นลักษณะของ "พ่อเลี้ยงกัลป์ปบลูกเลี้ยง" คือจะต้องระลึกถึงหมอธรรมอยู่เส มอ โดยเฉพาะวันพระจะต้องนำดอกไม้สี ขาวบูชาบนหิ้งของบ้านของผู้ป่วย ส่วนวันเข้าพรรษาและวันออกพรรษา จะต้องไปแสดงมุทิตาจิตต่อหมอธรร ม ผูกข้อมือเพื่อความสุขสวัสดี ผู้ป่วยที่ไม่ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ นี้อาจจะล้มป่วยเอง และชาวบ้านเรียกว่าป่วยเนื่องจา ก "ผิดของรักษา" ในสายตาของชาวบ้านแล้วหมอธรรมอย ู่ในฐานะสูงกว่าหมอลำผีฟ้า เพราะหมอธรรมใช้ธรรมรักษา ส่วนหมอลำผีทรงใช้ผีซึ่งอยู่ในฐ านะต่ำกว่าธรรม
8. หมอพร หรือหมอสู่ขวัญ
หรือหมอพรม (พราหมณ์) หมอสู่ขวัญหรือหมอพรถ้ามีความรู ้ทางโหราศาสตร์ และดูฤกษ์ยามตลอดจนประกอบพิธีขึ ้นบ้านใหม่ ทำพิธีก่อนลงเสาแฮก เสาขวัญ เรียกว่าพรม ชาวบ้านเชื่อว่าสาเหตุของความเจ ็บป่วยประการหนึ่งคือ การที่ขวัญหนีคิง (ขวัญหนีออกจากร่าง) การที่จะให้มีร่างกายสู่สภาวะปก ติจึงต้องเรียกให้ขวัญกลับเข้าม าอยู่ตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย การสู่ขวัญจึงเป็นการรักษา (curative medicine) การสู่ขวัญเพื่อให้ขวัญ "แข็งแรง" และเบิกบานเป็นการป้องกัน (preventive medicine) ได้แก่ การสู่ขวัญต้อนรับผู้มาเยือน การสู่ขวัญแม่มาน (หญิงมีครรภ์ก่อนคลอด) การสู่ขวัญนาค การสู่ขวัญพระก่อนเข้าพรรษา เป็นต้น เครื่องหมายที่แสดงว่าขวัญกลับเ ข้าอยู่ในร่างกาย คือการผูกแขนด้วยฝ้าย ตามสำนวนที่ว่า ผูกเบื้องซ้ายขวัญมา ผูกเบื้องขวาขวัญอยู่
9. หมอตำแย
ที่เป็นผู้หญิงและผู้ชายสามารถป ฏิบัติงานได้แตกต่างกันคือหมอตำ แยผู้หญิงจะทำหน้าที่เฉพาะการทำ คลอด และการทำความสะอาดเด็กเท่านั้น ส่วนขั้นตอนต่อไปคือพิธีกรรมการ เอาแม่ลูกอ่อนอยู่ไฟนั้นเป็หน้า ที่ของหมอเป่า หรือกรณีคลอดยากอาจต้องให้หมอเป ่าทำน้ำมนต์ให้หญิงมีครรภ์ดื่มเ รียกว่าสะเดาะ แต่หมอตำแยผู้ชายสามารถทำได้ทุก ขั้นตอนคือตั้งแต่การทำคลอด การทำความสะอาดเด็ก จนกระทั่งถึงพิธีกรรมการเอาแม่ล ูกอ่อนอยู่ไฟ
การอยู่กรรม หรือ การอยู่ไฟ
ชาวอีสานเมื่อหญิงมีการคลอดบุตร หลังการคลอดจะมีการ “อยู่ไฟ“ หรือเรียกว่า "อยู่กรรม" การอยู่ไฟ เชื่อว่าสามารถทำให้แม่ลูกอ่อนม ีสุขภาพแข็งแรง ผิวพรรณดี มดลูกเข้าอู่เร็ว ซึ่งจะมีพิธีกรรมตามความเชื่อปร ะกอบกับเป็นการสร้างขวัญกำลังใจ ในการดำเนินชีวิตให้กับแม่ลูกอ่ อนและญาติพี่น้อง หญิงอยู่ไฟ จะต้องมีการปฏิบัติตัวอย่างเคร่ งครัดมีข้อห้ามในการปฏิบัติมากม าย โดยเฉพาะเรื่องอาหาร คนอยู่ไฟถูกห้ามเรื่องอาหารแทบท ุกชนิด เพราะกลัวจะกินอาหารที่เป็นของแ สลงเข้าไป การห้ามกินของแสลงเรียกว่า “คะลำ” เช่น กินนก กินหนู จะเรียกว่าคะลำนกคะลำหนู
ลักษณะการอยู่ไฟคือจะให้แม่ลูกอ ่อนนั่งที่สะแนน (ที่นั่งที่ทำขึ้นโดยเฉพาะมีลัก ษณะคล้ายแคร่) โดยจะมีคงไฟอยู่ข้างๆเพื่อให้คว ามร้อนแก่แม่ลูกอ่อนที่อยู่ไฟ ระยะเวลาอยู่ไฟจะมีตั้งแต่ 7 วัน ถึง 1 เดือน แล้วแต่ใครจะมีความสามารถปฏิบัต ิได้ขั้นตอนการอยู่ไฟ
1. แม่ลูกอ่อนจะอาบน้ำอุ่นชำระร่าง กายแต่งกายโดยนุ่งผ้าถุงผืนเดีย วใช้ผ้าพันอก
2. หมอพื้นบ้านจะทำพิธีผาบไฟ (พิธีป้องกันพิษไฟ พิษความร้อน) จะทำพิธีกินผีกินปอบไปพร้อมๆกัน
3. เข้านั่งในเรือนกรรม คือ นั่งบนสะแนน ซึ่งบริเวณที่ใช้อยู่ไฟเรียกว่า เรือนกรรม
4. เมื่อครบกำหนด 7 – 30 วันจะออกไฟ คือ ออกจากอยู่ไฟหมอพื้นบ้านก็จะทำพ ิธี
"เสียพิษไฟ" คือ การทำพิธีถอนพิษไฟ ปละจะตัดหางใบตองกล้วย ปิดฝาหม้อกรรม ( หม้อที่ต้มน้ำสมุนไพรเพื่อดื่มแ ละอาบ ) แล้วคว่ำหม้อ เป็นสัญลักษณ์ถือว่า หมดกรรม การอยู่กรรมได้สิ้นสุดลงแล้ว
สมุนไพรที่ใช้ดื่มและอาบ
จะนิยมใช้แก่นมะขามต้มอาบ และใช้ต้นนมสาว เครือฮวงสุ่ม แก่นมะเฟืองส้ม ต้มสำหรับดื่มโดยเชื่อว่า แก่นขาม บำรุงหัวใจ นมสาว บำรุงน้ำนม รักษามดลูก และแก้ของแสลง ฮวงสุ่ม บำรุงเลือด แก่นมะเฟือง ขับเลือดเสีย บำรุงเลือด ทำให้เลือดลมดี
เมื่อเด็กคลอดจะทำพิธีพอกพาย พอกกำเริด เพื่อป้องกันผีกับคุณไสยต่างๆ และจะมีคำพูดว่า "นกเข้าฮ้องกุกกรู กุกกรู ถ้าแม่นลูกสูให้เกาไปมื้อนี้วัน นี้ กายมื้อนี้ วันหน้า แม่นลูกกู จ๊ะจ๊ะ" ถ้าเด็กไม่ร้องก็จะตบกกก้นให้เด ็กร้อง
การนอนของเด็ก จะนำกระด้งมาคว่ำลงใช้ผ้าปูนิ่ม ๆ นำเด็กนอน โดยจัดที่จัดทางให้สวยงาม คือ อย่าให้คอเอียง แขนขาพับ ใช้ผ้าอ้อมรองข้างๆ เด็ก เพื่อกันเด็กพลิกตัวผิดท่าผิดทา ง อาจเกิดอันตรายได้ และรูปร่างไม่สวยสมบูรณ์
10. พิธีการโจลมะม็วด
เป็นภูมิปัญญาในการรักษาสุขภาพจ ิตชุมชนของชาวเขมรในจังหวัดสุริ นทร์ เช่นเดียวกับการลำผีฟ้า แต่โจลมะม็วดจะมีเรื่องเทพ และฤทธิ์เดชเช้ามาเกี่ยวข้องมาก กว่า
คำว่า "มะม็วด" เป็นภาษาเขมรแปลว่า แม่มดหรือว่าร่างทรง เป็นบุคคลที่สามารถให้เทวดามาทร งได้ โดยมากเป็นชาวบ้าน ทำมาหากกินตามปกติต่อมามีอาการป ่วย เช่นชักกระตุกแล้วสลบไป พูดจาสับสน เพ้อๆ ฝันๆ เพี้ยนไปจากปกติ เป็นๆ หายๆ แม้รักษาอย่างไรก็ไม่หายบางคนมี อาการนานนับปีๆ กว่าจะค้นหาสาเหตุพบว่ามีคนเข้า ทรงแล้วบอกว่ามีเทวดาขออยู่ด้วย เมื่อรู้สาเหตุแล้วทำพิธีต้อนรั บ โดยการนำคนทรงอื่นที่เชี่ยวชาญม าเป็นพี่เลี้ยง ให้ลองเข้าทรงดู เมื่อเข้าทรงได้ก็จัดสักการะบูช าตามที่แม่มดบอก อาการเจ็บป่วยก็ทุเลาและหายไปเอ งในที่สุด คนที่เป็นร่างททรงของแม่มดทุกๆ ปี บางคนมีความสามารถทำนายเหตุการณ ์ต่างๆ ได้แม่นยำ รักษาโรคเก่ง
พิธีกรรมโจลมะม็วด จะต้องเลือกวัน มักเลือกวันพฤหัสบดีและวันอังคา ร ถือว่าเป็นวันครู และไม่เล่นในวัน 15 ค่ำทั้งข้างขึ้นและข้างแรม เนื่องจากอัคคนิโรธที่เทพารักษ์ การเริ่มทำพิธี เริ่มแรก แม่มดระดับครูจะเข้าสู่ที่นั่งเ ริ่มเข้าทรง ดนตรี คือกันตรึมเริ่มบรรเลง สักครู่หนึ่ง "ครู" ประจำตัวของแม่มดหัวหน้าก็เข้าป ระทับทรง พูดจา แต่งเนื้อแต่งตัวแล้วเรียกพรายข องบรรดาเจ้าภาพเข้ามาประทับทรงเ พื่อผนึกกำลังในตัวแม่มดคนเดียว แต่งกายทะมัดทะแมงถือดาบร่ายรำแ ล้วออกไปข้างนิกปะรำไปรำดาบทำท่ ารบพุ่งกับภูติผี จะมีผู้คอยถามถึงสาเหตุที่มาทำใ ห้คนไข้เจ็บป่วย แม่มดจะตอบถึงสาเหตุนั้นๆ เช่น เพราะไม่ทำที่ให้อยู่หรือโกรธที ่พวกมึงผิดพ้องหมองใจกันในหมู่ญ าติพี่น้องกันเอง แม่มดบังคับให้คืนดีกันเสีย คนถามจะถามว่าต้องการอะไร แม่มดก็จะบอกว่าต้องการสิ่งนั้น สิ่งนี้ เสื้อผ้าอาหาร หรือของเล่นต่างๆ ในที่สุดก็บอกว่าให้ร่ายรำเล่นเ ถอะมาแล้วก็ต้องสนุกสนานเถอะ แม่มดก็แต่งกายและรำเล่น สมัยก่อนมีการสวมเล็บที่ทำด้วยเ งินยาวๆ แบบระบำฟ้อนเล็บรำสวยงาม ในที่สุดท้ายก็จะร่วมฟ้อนรำโดยด นตรีบรรเลง เมื่อสิ้นสุดเพลงสุดท้ายแล้ว พวกเทพก็พากันออกจากร่าง โดยจับขันหมุนแล้วออกไป เป็นอันเสร็จพิธี
ที่มา : ภาพเขียนสีภายในห้องนิทรรศการเฉ ลิมพระเกียรติ ๕๐ พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
เครดิตข้อมูลจาก Facebook : คุณปณิตา ถนอมวงษ์
1.หมอยาฮากไม้
เป็นหมอที่ใช้วิธีการรักษาด้วยส
2.หมอเป่า
มีวิธีการรักษาด้วยการเป่าต่างๆ
3. หมอน้ำมนต์
เป็นการรักษาโดยการทำน้ำมนตร์แล
4. หมอเอ็น
เป็นการรักษาโดยใช้หัวแม่มือ และนิ้วชี้ สำหรับจับเอ็นที่เคล็ดขัดยอกหรื
5. หมอพระ
เป็นพระที่หน้าที่รักษาโรค ได้แก่ อาการปวดหัว ปวดท้อง อารมณ์เสียบ่อย ๆ เป็นลมง่าย มีอาการชาตามตัว รักษาโดยการประพรมน้ำมนตร์ หรืออาบน้ำมนตร์ผูกแขนให้ และให้ระลึกถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ และให้สวดมนต์ก่อนนอน ผู้ป่วยที่มามักเป็นผู้ป่วยที่ไ
6. หมอลำผีทรง (หมอลำผีฟ้า)
ส่วนใหญ่เป็นผู้หญิงรักษาผู้ป่ว
7.หมอธรรม
ส่วนใหญ่จะเรียนวิชามาจากวัด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในขณะที่บวชเร
8. หมอพร หรือหมอสู่ขวัญ
หรือหมอพรม (พราหมณ์) หมอสู่ขวัญหรือหมอพรถ้ามีความรู
9. หมอตำแย
ที่เป็นผู้หญิงและผู้ชายสามารถป
การอยู่กรรม หรือ การอยู่ไฟ
ชาวอีสานเมื่อหญิงมีการคลอดบุตร
ลักษณะการอยู่ไฟคือจะให้แม่ลูกอ
1. แม่ลูกอ่อนจะอาบน้ำอุ่นชำระร่าง
2. หมอพื้นบ้านจะทำพิธีผาบไฟ (พิธีป้องกันพิษไฟ พิษความร้อน) จะทำพิธีกินผีกินปอบไปพร้อมๆกัน
3. เข้านั่งในเรือนกรรม คือ นั่งบนสะแนน ซึ่งบริเวณที่ใช้อยู่ไฟเรียกว่า
4. เมื่อครบกำหนด 7 – 30 วันจะออกไฟ คือ ออกจากอยู่ไฟหมอพื้นบ้านก็จะทำพ
"เสียพิษไฟ" คือ การทำพิธีถอนพิษไฟ ปละจะตัดหางใบตองกล้วย ปิดฝาหม้อกรรม ( หม้อที่ต้มน้ำสมุนไพรเพื่อดื่มแ
สมุนไพรที่ใช้ดื่มและอาบ
จะนิยมใช้แก่นมะขามต้มอาบ และใช้ต้นนมสาว เครือฮวงสุ่ม แก่นมะเฟืองส้ม ต้มสำหรับดื่มโดยเชื่อว่า แก่นขาม บำรุงหัวใจ นมสาว บำรุงน้ำนม รักษามดลูก และแก้ของแสลง ฮวงสุ่ม บำรุงเลือด แก่นมะเฟือง ขับเลือดเสีย บำรุงเลือด ทำให้เลือดลมดี
เมื่อเด็กคลอดจะทำพิธีพอกพาย พอกกำเริด เพื่อป้องกันผีกับคุณไสยต่างๆ และจะมีคำพูดว่า "นกเข้าฮ้องกุกกรู กุกกรู ถ้าแม่นลูกสูให้เกาไปมื้อนี้วัน
การนอนของเด็ก จะนำกระด้งมาคว่ำลงใช้ผ้าปูนิ่ม
10. พิธีการโจลมะม็วด
เป็นภูมิปัญญาในการรักษาสุขภาพจ
คำว่า "มะม็วด" เป็นภาษาเขมรแปลว่า แม่มดหรือว่าร่างทรง เป็นบุคคลที่สามารถให้เทวดามาทร
พิธีกรรมโจลมะม็วด จะต้องเลือกวัน มักเลือกวันพฤหัสบดีและวันอังคา
ที่มา : ภาพเขียนสีภายในห้องนิทรรศการเฉ
วันอาทิตย์ที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2555
ฟรี ฟรี ฟรี อบรมทำ "ครีมนวดผมดอกอัญชัน" วันที่ วันเสาร์ที่ 15 ธันวาคม 2555 เวลา 13.00 น- 16.00 น
ฟรี ฟรี ฟรี อบรมทำครีมนวดผมดอกอัญชัน - วันเสาร์ที่ 15 ธันวาคม 2555 เวลา 13.00 น- 16.00 น. (ลงทะเบียน 12.30 น.) ที่ชมรมอนุรักษ์สมุนไพรไทย
-สอนวิธีเลือกซื้อวุตถุดิบ
-ฝึกปฎิบัติจริง
-การทำตลาด
กรุณาลงทะเบียนก่อน(ลงทะเบียนได้ที่นี่ลงชื่อ-นามสกุล-เบอร์โทรศัพท์ติดต่อกลับ)
สนใจลงทะเบียนล่วงหน้าที่ Link ด้านล่าง http://doodle.com/qrzvk4w3f2rpfbft
-สอนวิธีเลือกซื้อวุตถุดิบ
-ฝึกปฎิบัติจริง
-การทำตลาด
กรุณาลงทะเบียนก่อน(ลงทะเบียนได้ที่นี่ลงชื่อ-นามสกุล-เบอร์โทรศัพท์ติดต่อกลับ)
สนใจลงทะเบียนล่วงหน้าที่ Link ด้านล่าง http://doodle.com/qrzvk4w3f2rpfbft
อบรมฟรี " น้ำยาล้างจานสมุนไพร " วันเสาร์ที่ 15 ธันวาคม 2555 เวลา 9.00 - 12.00 น.
อบรมฟรีน้ำยาล้างจานจากสมุนไพร - วันเสาร์ที่ 15 ธันวาคม 2555 เวลา 09.00 น- 12.00 น. (ลงทะเบียน 08.30 น.) กรุณาลงทะเบียนก่อน(ลงทะเบียนได้ที่นี่ลงชื่อ-นามสกุล-เบอร์โทรศัพท์ติดต่อกลับ) หรือติดต่อ 086-000-8898 ( สำหรับท่านที่ได้ลงทะเบียนแล้วทางชมรมฯมิได้ติดต่อกลับเพราะว่าได้รับทราบแล้วท่านสามารถมาตามวันเวลาที่กำหนดได้เลย )ช่วยลงเบอร์โทร์ศัพท์ทุกครั้งเพื่อที่ชมรมฯจะติดต่อกลับในกรณีที่มีการเลื่อนตารางฝึกอบรมขอบคุณ
สามารถลงทะเบียนตาม Link ด้านล่างได้เลยค่ะ http://doodle.com/pr9ihmcdv7ztq6wz
สามารถลงทะเบียนตาม Link ด้านล่างได้เลยค่ะ http://doodle.com/pr9ihmcdv7ztq6wz
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)